เครือศิครินทร์ บริษัท ศิครินทร์ จำกัด (มหาชน)
ชุดตรวจโควิด บทความสุขภาพ บทความเกี่ยวกับฟัน ไม่มีหมวดหมู่
ตรวจรักษาไข้หวัด
ถ้าฟันนั้นสามารถขึ้นมาได้ดีก็ไม่จำเป็นต้องถอน แต่ก็ควรให้ทันตแพทย์ตรวจเพราะบางทีอาจมีเหงือกคลุมบางส่วนของฟันอยู่ หรือเป็นฟันที่อยู่ในตำแหน่งที่ลึกมาก ไม่สามารถที่จะดูแลทำความสะอาดได้ง่าย อาจทำให้เกิดฟันผุ หรือมีกลิ่นปากได้ ทันตแพทย์ก็จะแนะนำให้ถอนฟันออก
มะเร็ง คืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร? ข้อมูลสุขภาพ, บทความทางการแพทย์, บทความแนะนำ
ผ่าฟันคุดกินอะไรได้บ้าง กินอะไรหายเร็ว
อย่างไรก็ตาม สำหรับฟันคุดที่อาจก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพช่องปากในอนาคต เช่น ทำให้เกิดการติดเชื้อ อักเสบ หรือผลักให้ฟันซี่อื่นเกิดการเบียดเสียด แพทย์มักแนะนำให้ผ่าตัดเอาออกเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง ดังนั้น จึงควรปรึกษาทันตแพทย์เพื่อประเมินลักษณะของฟันคุดเป็นรายบุคคล และวางแผนการรักษาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับสุขภาพช่องปากของตนเอง
การเกิดฟันคุดมาจากมีฟัน เนื้อเยื่อ หรือกระดูกปิดขวางการงอกของฟันอยู่ จนทำให้ฟันไม่สามารถเติบโตพ้นเหงือกออกมาได้ แล้วกลายเป็นฟันคุดนั่นเอง
การถอนฟันคุดและผ่าฟันคุดต่างกันอย่างไร?
เรารู้ดีว่าฟันคุดทำให้เกิดผลกระทบมากมายต่อสุขภาพปากและฟันจนต้องผ่าหรือถอนออกไป แต่ผ่าฟันคุดก็ตามมาด้วยอาการปวดจนหลายคนรู้สึกกลัวและไม่ต้องการผ่า ซึ่งความจริงแล้วมีฟันคุดบางประเภทที่ไม่จำเป็นต้องผ่านะคะ แต่ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า หากปล่อยไว้ไม่ผ่าออกจะเป็นอะไรหรือไม่ อยากรู้ว่าฟันคุดไม่ผ่าได้ไหม เรามีคำตอบมาฝากทุกคนที่สงสัยแล้วค่ะ
บางกรณีฟันคุดเบียดชนรากฟันจนกระดูกหุ้มรากฟันบริเวณที่ถูกเบียดละลายตัวไปมาก ทำให้พบปัญหาว่าหลังจากผ่าฟันคุดไปแล้ว มีเหงือกร่นบริเวณที่ถูกฟันคุดเบียด ทำให้เสียวฟัน หรือฟันโยกได้ ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจมาก/น้อย ขึ้นกับตำแหน่งของฟันคุด ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า และอายุของคนไข้
ฟันคุดไม่ผ่าได้ไหม ? มาทำความรู้จักฟันคุดที่ไม่ต้องผ่ากัน !
ฟันคุดในผู้สูงอายุ – ในผู้ป่วยสูงอายุที่มีสุขภาพไม่แข็งแรง การผ่าตัดฟันคุดอาจมีความเสี่ยงสูงกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ จึงอาจพิจารณางดการผ่าตัดได้
สละอินโด ประโยชน์ ดีๆ ต่อสุขภาพ และดวงตา มารู้จักผลไม้ที่มากไปด้วยประโยชน์และคุณค่ากัน !